เพลี้ยอ่อน
เพลี้ยอ่อน
ช่วงนี้เริ่มเข้าสู่ฤดูฝน เกษตรกรในหลายพื้นที่เริ่มเตรียมแปลงเพาะปลูกผักนานาชนิด ทั้งช่วงนี้กระแสราคาผลผลิตพืชผักราคาต่อกิโลกรัมสูงขึ้น เนื่องจากปัจจัยในช่วงที่ผ่านมาผลผลิตขาดตลาด ไม่เพียงพอต่อความต้องการ
เพลี้ยไก่แจ้ลำไย
เพลี้ยไก่แจ้ลำไย
ในช่วงสภาวะฝนทิ้งช่วงและลำไยแทงใบอ่อน หรือระยะใบเพสลาด ชาวสวนควรหมั่นเฝ้าระวังเพลี้ยไก่แจ้เข้าทำลายใบอ่อนลำไย
เพลี้ยหอยลำไย
เฝ้าระวังเพลี้ยหอยลำไยระบาด
เตือนเกษตรกรสวนลำไยเฝ้าติดตามสถานการณ์การระบาดของเพลี้ยหอยลำไย หรือในชื่อสามัญ "เพลี้ยหอยหลังเต่าลำไย"
โรคไฟทอปธอร่า หรือ โรครากเน่าโคนเน่า
โรคไฟทอปธอร่า หรือ โรครากเน่าโคนเน่า
สาเหตุเกิดจาก : เชื้อรา Phytophthora palmivora
เพลี้ยไฟพริก
แมลงเล็กจิ๋วเพลี้ยไฟพริก
เข้าทำลายดอกทุเรียน ควรเน้นพ่นสารป้องกันเพลี้ยไฟ ระยะดอกเริ่มขาว ก่อนดอกบาน
โรคไฟทอปธอร่าในทุเรียน
กรมอุตุฯคาด 16-18 พ.ย. นี้ ภาคใต้และภาคตะวันออกมีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 40-60 และ 30-40 ของภาค ตามลำดับ สำหรับชาวสวนทุเรียนที่ช่วงนี้กำลังทำดอกควรเฝ้าระวัง
โรคหลังการเก็บเกี่ยว "อโวคาโด"
โรคหลังการเก็บเกี่ยวของ "อโวคาโด"
ปัจจุบันอโวคาโด เป็นผลไม้ที่ได้รับความนิยมสูงจากผู้บริโภคและเป็นพืชที่มีราคาดี เกษตรกรผู้ปลูก "อโวคาโด" ควรใส่ใจเรื่องการดูแลผลผลิต โดยเฉพาะหลังจากเก็บเกี่ยวผลแล้ว ควรป้องกันโรคพืชที่จะตามมาหลังการเก็บเกี่ยวด้วย
แม่ผีเสื้อหนอนกอ
เนื่องจากสภาพอากาศเข้าสู่ช่วงปลายฝนต้นหนาว เริ่มพบการเข้าวางไข่ ของผีเสื้อหนอนกอ ในหลายพื้นที่นาข้าว ชาวนาควรเฝ้าระวังและหมั่นตรวจแปลงช่วงเย็นเป็นประจำ
โรคในกลุ่มเมลาโนส
กลุ่มโรคเมลาโนสเป็นโรคพืชในตระกูลส้ม - มะนาว ที่มีความสำคัญซึ่งประกอบไปด้วย
- โรคเมลาโนส (Melanose)
- โรคกรีสซีเมลาโนส หรือโรคใบปื้นเหลือง (Greasy melanose)
- โรคสตาร์เมลาโนส (Star melanose)
โรคหอมเลื้อย
โรคหอมเลื้อย หรือ โรคแอนแทรคโนสในหอม (Anthracnose)
โรคหอมเลื้อยสาเหตุเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides (Penz) Sacc.