เครื่องมือค้นหา
ค้นหา...
ภาษาไทย
English
บริษัท ไซมาเคมี จำกัด
สำนักงานใหญ่ 0-2308-2102
โรงงาน 0-2324-0515-6
Contact
Youtube
LINE
Facebook
Instagram
Toggle
หน้าแรก
รู้จักไซมาเคมี
เกี่ยวกับเรา
ประวัติบริษัท
วิสัยทัศน์และนโยบายบริษัท
การจัดการองค์กร
ระบบรับรองคุณภาพ
รางวัลแห่งความสำเร็จ
บริษัทในเครือ
บริษัท แอ็กโกร (ประเทศไทย) จำกัด
บริษัท ไซมาเคมี จำกัด
บริษัท แพ็คกิ้ง แอ็ก จำกัด
ผลิตภัณฑ์
สารกำจัดไรศัตรูพืช
สารกำจัดแมลง
สารป้องกันกำจัดโรคพืช
สารกำจัดวัชพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโต
ปุ๋ยน้ำและอาหารเสริมพืช
สารเพิ่มประสิทธิภาพสารเคมีเกษตร
บริการ
วิเคราะห์เปอร์เซ็นต์สารเคมีทางการเกษตร
ข่าวสาร
ข่าวกิจกรรม
ข่าวประชาสัมพันธ์
ปัญหาศัตรูพืช
แวดวงเกษตร
กิจกรรมเพื่อสังคม/สิ่งแวดล้อม
VDO แนะนำผลิตภัณฑ์
โอกาสทางธุรกิจ
สมัครเป็นตัวแทนจำหน่าย
ร่วมงานกับเรา
ตำแหน่งงานว่าง
ติดต่อเรา
แบบประเมินความพึงพอใจ
ข้อร้องเรียน
บริษัท ไซมาเคมี จำกัด
ไทเกอร์-วัน
บาสโซน
กลับไปที่: สารกำจัดวัชพืช
เมสดาซิน
คำอธิบาย
ชื่อสามัญ :
มีโซไตรโอน (mesotrione) + อะทราซีน (atrazine) 2.5% + 25% W/V SC
ลักษณะสาร :
ของเหลวสีขาวข้นหนืด
ขนาดบรรจุ :
12x1000 มิลลิลิตร
อัตราใช้ :
ข้าวโพด อ้อย พ่นหลังปลูก 7-15 วัน อัตรา 550-600 มิลลิลิตร ผสมน้ำ 60-80 ลิตรพ่นบนพื้นที่ 1 ไร่ หรือ
อัตรา 140 – 150 มิลลิลิตร ผสมน้ำ 15 – 20 ลิตร พ่นบนพื้นที่ 1 งาน
*พ่นขณะดินมีความชื้น
คุณสมบัติ :
เป็นสารกำจัดวัชพืชประเภทเลือกทำลาย ในกลุ่มสารเคมี "ไตรคีโทน (Triketone)" และ "ไตรอะซีน (1,3,5-Triazines)" มีฤทธิ์ดูดซึมผ่านทางรากและยอดอ่อน สามารถเคลื่อนย้ายจากรากสู่ยอดอ่อน ปลอดภัยต่อข้าวโพด และอ้อย
กลไกออกฤทธิ์ 2 ทาง คือ มีโซไตรโอน ยับยั้งเอนไซม์ 4 เอชพีพีดี (4-hydroxyphenyl-pyruvate-dioxygenase; 4-HPPD) ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่อยู่ในกระบวนการสังเคราะห์แคโรทีนอยด์ ส่งผลให้คลอโรฟิลล์ในพืชถูกทำลาย ใบพืชจึงเปลี่ยนเป็นสีขาว เนื่องจากขาดคลอโรฟิลล์ ทำให้พืชสังเคราะห์แสงไม่ได้และตายในที่สุด และอะทราซีน ยับยั้งการสังเคราะห์ด้วยแสงของวัชพืช ในระบบแสง 2 (PS II) โดยขัดขวางการขนส่งอิเล็กตรอน ขัดขวางการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ เพื่อสร้างพลังงาน ATP และ NADPH2 ทำให้วัชพืชขาดพลังงานที่จำเป็นเจริญเติบโต วัชพืชใบจะเหลืองและแห้งตาย
ประโยชน์ :
ใช้กำจัดวัชพืชหลังวัชพืชงอก ในระยะเริ่มต้น (วัชพืชใบแคบ มี 2-3 ใบ, ใบกว้าง 4-6 ใบ) วัชพืชประเภทใบแคบ เช่น หญ้าดอกขาว หญ้าตีนกา หญ้าตีนนก หญ้าตีนติด หญ้านกสีชมพู หญ้าปากควาย
วัชพืชประเภทใบกว้าง เช่น ผักเบี้ยใหญ่ ผักเบี้ยหิน หญ้ายาง ผักโขม
หมายเหตุ :
-
จำนวนผู้เข้าชม :
716682
ครั้ง
แผนผังเว็บไซต์
Back To Top